http://boon222333.siam2web.com http://boon222333.siam2web.com/

     วิธีการผสมพันธ์พ่อพันธุ์-แม่พันธุ์

- เตรียมบ่อขนาด 4X3 สูง 1.50 เมตร เติมน้ำสูงประมาณ 10 ซ.ม ใส่พ่อแม่พันธุ์ 10 คู่

- นำวัชพืชน้ำใส่เพื่อทำให้พ่อ-แม่พันธุ์ อยู่แบบธรรมชาติ 

- พ่อ-แม่พันธุ์จะผสมพันธุ์กันเองในช่วงเวลากลางคืน พอช่วงเช้าให้น้ำพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ออกจากบ่อ

- พอไข่เริ่มฟักเป็นตัว จึงให้อาหารเหลวหรืออาหารผง ประมาณ 1-2 สัปดาห์ ลูกอ๊อดจะเริ่มเป็นตัว

 

                                             โรคและวิธีป้องกันรักษา

การที่กบที่เลี้ยงไว้เป็นโรคต่าง ๆ นัน สาเหตุส่วนใหญ่มาจากความสกปรกของบ่อ การจัดการและดูแลไม่ทั่วถึง ทำให้กบมีสภาพอ่อนแอ หรือในกรณีที่กบไม่มีบาดแผล อาจเกิดจากอาหารสกปรกก็ได้ เมื่อผ่าอวัยวะภายในพบว่าถุงน้ำดีมีสีเขียวเข้มถึงน้ำเงินแก่ ไตมีขนาดใหญ่กว่าปกติ ลำไส้เล็กส่วนท้ายเกิดการตกเลือด ปอดมีตุ่มหนอง วิธีการบำบัด ให์ไช้ยาออกซิเตทตราไชคลีน 3 กรัมต่ออาหารกบ 1 กิโลกรัม ให้กบกินทุกมื้อประมาณ 3-7 วัน กบก็จะหายเป็นปกติ น้ำที่ใช้เลี้ยงกบควรอยู่ไนช่วงสภาพความเป็นกรดด่าง (พีเอช) ประมาณ 6.5-8.5 ในวันที่ฝนตกหนักหรืออุณหภูมิเปลี่ยนอย่างรวดเร็วร่างกายของกบจะ ปรับตัวไม่ทัน อาจตายได์ในวันรุ่งขี้นอย่างน้อย 1 ตัวเสมอ ในช่วงฝนตกจึงควรสร้างหลังคา หรือใชผาใบคลุมบ่อ หรือปรับอุณหภูมิในบ่อเลี้ยงให้คงที่

เมื่อกบเล็กอายุ 1 เดือน ควรมีการถ่ายพยาธิโดยใส่ดีเกลือ 3 กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม ให้เพียง 1 มื้อ ทำเดือนละครั้งจะทำให้กบเจริญเติบโตรวดเร็วต้านทานโรคได้ดีขึ้น
สิ่งส่าคัญในการป้องกันไม่ให้กบเกิดโรคคือ

1. รักษาความสะอาดของบ่อเลี้ยง
2. อย่าเลี้ยงกบหนาแน่นเกินไป
3. เปลี่ยนน้ำในบ่อบ่อย ๆ หรืออย่างน้อยทุกวัน
4. อาหารที่ให้ควรมีโปรตีนสูงและเป็นอาหารที่กบชอบ
5. มีการจัดการที่เหมาะสม


บ่อและการสร้างบ่อ
บ่อเลี้ยงกบควรจะสร้างด้วยคอนกรีต หรือวัสคุอี่น ๆ ที่มีความแข็งแรงพอสมควร สามารถป้องกันไม่ให้กบหนี และป้องกันศัตรูจากภายนอกไม่ให้เข้าไปทำลายกบได้ บ่อเลี้ยง กบที่ดีควรมีลักษณะดังนี้คือ

1. บ่อรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ควรมีความกว้าง 5 เมตร ยาว 10 เมตร ส่วนบ่อกลม ควรมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 เมตร

2. บ่อรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าทำชานบ่อทางด้านกว้างทั้ง 2 ด้านให้ชานบ่อยาว 30 เชนติเมตร กว้าง 1.5 เมตร โดยให้ชานลาดเอียงสู่กลางบ่อ ส่วนทางด้านยาวทำ ลาดเอียงสู่ท่อระบายน้ำ ส่าหรับบ่อกลมพื้นบ่อควรลาดเอียงสู่จุดศูนย์กลางของบ่อซึ่งเป็น ที่ระบายน้ำทิ้ง มีดวามลึกประมาณ 12 เชนติเมตร

3. คันบ่อ ควรสูงอย่างน้อย 60 เซนติเมตร และกั้นด้วยตาข่ายเพื่อป้องกัน กบกระโดดออกจากบ่อเลี้ยง

หลัง<wbr คาคลุมบ่อสร้างจากทางมะพร้าว" align=left border=3 vspace=3 hspace=3 width=160 height=100>
4. หลังคา ควรมีหลังคาคลุมบ่อเลี้ยงอย่างน้อยครึ่งหนึ่งของเนื้อที่บ่อ หลังคาจะช่วยบดบังแสงแดดและป้องกันมิให้กบตกใจด้วย



ส่าหรับการสร้างบ่อเลียงกบด้วยคอนกรีตนั้น หลังจากการสร้างบ่อเสร็จน้ำในบ่อ จะมีสภาพเป็นด่างมาก ยังไม่เหมาะที่จะใช้เลี้ยงกบ ให้แก้ไขโดยใช้สารส้มหนัก 1 กิโลกรัม ต่อน้ำนบ่อ 1 ลูกบาศก์เมตร แช่ทิ์งไว้ 3-4 วัน จึงถ่ายน้ำทิ้งแล้วขัดให้สะอาดด้วยแปรง ตากบ่อให้แห้งเติมน้ำใหม่ลงไปก็เริ่มใช้เลี้ยงกบได้ ข้อควรระวังดืออย่าตากบ่อคอนกรีต ไว้นานจะทำให้บ่อแตกร้าวได้ 

                                                                                    การผสมพันธุ์กบ
 
 


1. การผสมพันธุ์ในฤดูผสมพันธ์
ส่วนมากในคืนแรกหรือคืนที่ 2 หลัจงจากฝนตก กบจะทำการผสมพันธุ์ วางไข่แต่ อาจยึดเยื้อไปได้อีก โดยจะผสมพันธุ์วางไข่หลังจากฝนตกประมาณ 5-7 วัน เมื่อเลือกกบ ที่มีลักษณะดีแล้วให้นำมาปล่อยในบ่อผสมพันธุ์ในอัตราตัวผู้ 2 ตัวต่อตัวเมีย 10 ตัว (ตัวผู้กับตัวเมียมีขนาดเท่ากัน) ระดับน้ำในบ่อลึกประมาณ 10-15 เซนติเมตร ภายในบ่อ ใส่พวกสาหร่ายลงไปด้วยพอประมาณ รักษาระตับน้ำให้คงที่ตลอดเวลา ในช่วงนี้งดให้ อาหารประมาณ 2-3 วัน ถ้ายังไม่มีฝนตกให้เปลี่ยนน้ำใหม่และอาจพ่นน้ำในบ่อผสมพันธุ์ ไห้เหมือนกับฝนตก หลังจากนันกบก็จะผสมพันธุ์และวางไข่ในเวลาเช้ามืด

ภายในบ่อผสมพันธุ์จะใส่พันธุ์ไม้น้ำด้วย
2. การผสมพันธุ์นอกฤด
ได้มีผู้คิดค้นและทดลองปฎิบัติกันหลายวิธี เช่น เมื่อเข้าสู่ฤดูแล้งจะเติมน้ำจนเต็ม บ่อเลี้ยงกบ และฉีดน้ำให้กบชุ่มชื้นอย่างน้อย 2 วันต่อครั้ง แล้วถ่ายน้ำออกปล่อยให้บ่อแห้ง ประมาณ 2-3 วัน เมื่อบ่อแห้งดีแล้วจีงทำการคลุมหลังคาให้ร่มครึ้มอย่างเดิมอีกครั้ง หลังจาก นั้นฉีดน้ำให้บ่อกบชุ่มชื้น 6-7 วันติดต่อกัน แล้วฉีดน้ำต่ออีก 15 นาที สังเกตว่าในตอน กลางคืนกบจะร้อง พอเช้าให้ฉีดน้ำในตอนเที่ยงและบ่ายครั้งละครี่งธั่วโมง หลังจากนั้นใน เวลาประมาณ 4 นาฬิกาถึง 5 นาฬิกาของวันรุ่งขึ้น กบก็จะจับคู่ผสมพันธุ์และวางไข่ จากนั้นก็จะแยกกันไปหลบในที่อาศัย ผู้เลี้ยงก็จะสามารถจับพ่อและแม่พันธุ์คืนสู่บ่อเลี้ยงเดิมได้

กรณีดังกล่าวนีค่อนข้างยุ่งยาก ทางที่ดีควรแยกเลี้ยงพ่อและะแม่พันธุ์กบ เมื่อ ต้องการจะเพาะก็คัดพ่อพันธุ์กบที่มีน้ำเชื้อดีและแม่พันธุ์ที่มีไข่แก่ลงบ่อเพาะที่เตรียมไว้ดัง ได้กล่าวแล้วข้างต้น กบจะผสมพันธุ์วางไข่ในคืนแรกหรือคืนที่ 2 ถ้ากบไม่วางไข่จะต้อง เปลี่ยนน้ำใหม่อีกครั้ง กบอาจผสมพันธุ์วางไข่ได้ แต่ถ้ากบยังไม่วางไข่ก็ต้อูปลี่ยนพ่อและ แม่พันธุ์ไหม่
                                   
                                               การฟักไข่


การฟักไข่มีขั้นตอนปฎิบัติดังนี้
1. ทำความสะอาดบ่อฟักไข่ โดยใช้ฟอร์มาลีน 38-40 เปอร์เซ็นต์ ในอัตรา 30 ชีชี ต่อน้ำ 1000 ลิตร ราดให้ทั่วบ่อ แช่ทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที เสร็จแล้วใช้น้ำสะอาดล้างทำ ความสะอาดให้หมดกลิ่น
2. เติมน้ำสะอาดให้ลึกประมาณ 10 เซนติเมตร
3. ใส่พันธุ์โม้นำ เช่น ผักบุ้ง สาหร่าย และไม้น้ำชนิดอื้น ๆ ในบ่อฟักไข่ให้กระจาย สม่ำเสมอพอประมาณ
4. รวบรวมไข่กบทีได้ปล่อยลงในบ่อ บ่อขนาด 18-25 ตารางเมตร จะจุไข่กบได้ ประมาณ 5,000 - 7,000 ฟอง
5. เพิ่มออกซิเจนด้วยเครื่องอัดอากาศตลอดเวลา
6. ถ่ายน้ำทุก ๆ วัน ๆ ละครื่งหนื่งของบ่อ
 
                                                        การแยกเพศกบ



1. ขนาดลำตัว กบเพศผู้จะมีขนาดเล็กกว่ากบเพศเมีย เมื่อเลี้ยงไว้พร้อมกันหรือรุ่นเดียวกันจะสังเกตได้ง่าย
2. กล่องเสียง กบเพศผู้จะมีกล่องเสียงเป็นแผ่นกลม ๆ อยู่ใต้คางทั้งสองข้าง
3. ส่วนท้องกบเพศเมียมีดวามกว้างของลำตัวมากกว่ากบเพศผู้ และเมี่อถึงฤดูกาลผสมพันธุ์ กบเพศเมียจะมีท้องโป่งตลอดเวลา เนื่องมาจากการ เจริญเติบโตของรังไข่
4. สีในฤดูกาลผสมพันธุ์กบเพศผู้จะมีสีเหลืองเข้มหรือเหลือง ประปรายตรงบริเวณริมฝีปากล่างลงมาจนถึงใต้คาง
5. บริเวณนิ้วโป้งในฤดูผสมพันธุ์บริเวณนิ้วโป้งของกบเพศผู้จะมี ปุ่มหยาบๆเกิดขึ้นอย่างเด่นชัด ชึ่งจะช่วยให้จับเกาะบนผิวตัวเมียได้แน่นและปุ่ม เหล่านี้จะหายไปจนกว่าจะถึงฤดูกาลผสมพันธุ์ใหม่ 

                                                                วิธีเลี้ยงกบ

การเลี้ยงกบในปัจจุบัน ลูกกบที่นำมาเลี้ยงได้มาจาก 2 แหล่ง คือ
1. ลูกกบจากธรรมชาติ
เป็นการรวบรวกบที่มีอยู่ในธรรมชาติมาเลี้ยงในบ่อ จนกระทั่งได้ขนาดก็จับขาย ามารถแบ่งเป็นขั้นตอนได้ดังนี้
1.1 การรรวบรวมลูกอ๊อดและการอนุบาล ทำการรรวบรวมไข่กบที่ผสมแล้ว จากแหล่งน้ำธรรมชาติมาพาะฟักและอนุบาลในบ่อที่เตรียมไว้ หรืออาจช้อนลูกอ็อดถบที่พบเห็น อยู่ตามธรรมชาติมาเลี้ยงล หรือโดยการจับพ่อแม่พันธุ์กบ ในช่วงต้นฤดูฝนมาเลี้ยงในบ่อเพื่อ ให่ผสมพันธุ์กันและออกไข่ในบ่อเลี้ยง ป็นต้น

อุปสรรดส่าคัญของการจับลูกอ๊อดมาเลี้ยงก็คือ มักจะมีลูกอ๊อดของเขียด หรือคางคกปะปนมาด้วยผู้จับจึงต้องมีความรู้และความชำนาญในการเลือก ข้อสังเกตุง่าย ๆ คือ หัวลูกอ๊อตเขียดจะแหลมกว่าหัวลูกอ๊อดกบ ขนาดตัวก็เล็กกว่ารวมทั้งลายที่หลังและเส้นขาวที่พาด ตามลำตัวก็ไม่เหมือนกัน สีที่ด้านหลังและส่วนท้องก็แตกต่างกัน และถึงแม้จะเป็นลูกอ็อดกบ แต่กบก็มีหลายชนิด เช่น กบบัว ชี่งมีขนาดโตเต็มที่เพียงแค่ 15 กรัม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ประสบการณ์ของผู้เลี้ยง

การรวบรวมลูกกบจากธรรมชาติเพื่อนำมาเลี้ยงมีหลายวิธีเช่น

1.1.1 การจับด้วยมือเปล่าโดยใช้ไฟฉายหรือตะเกียงส่องแล้วใช้มือตะปบ จับใส่ถุงผ้าที่สะพายติดตัวไป
1.1.2 การจับด้วยแห จะใช้แหที่มีตาถี่ ทอดเหวี่ยงโดยวิธีเดียวกับการจับปลา
1.1.3 การจับด้วยการขุดหลุมดัก ทำหลุมลึกประมาณ 1 เมตรในบริเวณ ที่มีลูกกบชุกชุม ก้นหลุมวางอาหารผสมหรืออาหารหมักล่อไว์ในตอนเย็น ปากหลุมราดน้ำให้ เปียกชุ่มปรับให้เรียบและลื่นเป็นมัน ลูกกบจะมากินอาหารในตอนกลางคืนแล้วไม่สามารถขึ้น จากหลุมได้ ในตอนเช้าจึงมารวบรวมลูกกบ อย่าปล่อยทิ้งไว้ข้ามวันลูกกบจะมีโอกาสตายได้มาก
1.1.4 การจับด้วยเครื่องมือดัก คล้ายไชดักปลา ด้านหน้ามีทางเข้าทางเดียว ด้านท้ายมีประตูเปิดปิดได้ เมื้อลูกกบเข้าแล้วจะออกไม่ได้ เมื่อต้องการจะใช้งานนำเครื่องมือนี้็ ให้ฝังดินให้พื้นล่างเสมอกับผิวดิน ปิดด้วยหญ้า ราดน้ำพอชุ่ม ด้านหน้าปรับผิวดินให้ลื่น ภายใน เครื้องมือดักใส่อาหารล่อ ลูกกบจะเข้าไปกินอาหารในตอนกลางคืน ตอนเช้าจึงรวบรวมลูกกบที่ได้
1.2 การเลี้ยงลูกกบ ภายหลังจากลูกอ๊อดเจริญกลายเป็นกบแล้ว จะดำเนินการ อนุบาลจนกระทั่งเติบโตได้ขนาดจึงปล่อยลงบ่อเลี้ยง ลูกกบที่ปล่อยลงบ่อเลี้ยงนี้นิยมลูกกบ ที่มีขนาด 3-5 เชนติเมตรขี้นไป หรือถ้ารวบรวมจากธรรมชาติก็ต้องมีขนาดที่ทราบแน่นอนแล้ว ว่าเป็นลูกกบ
2. ลูกกบจากโรงเพาะฟัก
เป็นวิธีการเลี้ยงที่ดีที่สุด เพราะจะได้ผลผลิตมากและแน่นอน นอกจากนี้ต้นทุนยังต่ำ สามารถลดปัญหาการบอบช้ำจากการลำเลียงลูกกบจากธรรมชาติได้อีกด้วย วิธีนี้ลูกกบจะได้มา โดยการนำเอาพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ที่มีลักษณะดีมาผสมกันในบ่อผสมพันธุ์ แลัวนำไข่ท็่ได้มาฟ้กใน บ่อเพาะฟกเพื้อให์ไดัลูกกบ แล้วจึงนำไปอนุบาลต่อในภายหลัง
 
   

                        การเลี้ยงกบเพื่อส่งตลาด


กบที่คัดมาจากบ่ออนุบาลระยะสองนั้น จะนำมาเลี้ยงในบ่อระยะสุดท้ายเพื่อส่งตลาด มีหลักปฎิบัติดังนี้คือ
1. ก่อนการปล่อยกบลงูส่บ่อเลี้ยง
ให้ทำความสะอาดบ่อเลี้ยงให้เรียบร้อย ใส่น้ำสะอาดลงในบ่อเล็้ยงให้สูง 30 เชนติเมตร
2. การปล่อยกบลงเลี้ยง
ควรปล่อยกบที่มีขนาดเท่ากันคือประมาณ 1.5-2.0 นิ้ว เลี้ยงในอัตรา 100 ตัวต่อตารางเมตร ในการปล่อยกบนั้นควรวางภาชนะไว้บนชานบ่อสักพักหนึ่งแล้ว เปิดภาชนะ เอียงให้กบออกจากภาชนะที่ใส่ลงสู่บ่อเลี้ยงเอง
3. การให้อาหาร
ควรให้อาหารกบเป็นเวลาคือ เช้าและเย็น อาหารที่ให้เป็นพวกปลาสับ เครื่องในสัตว์หรืออาหารเม็ดของปลาดุกให้ 2 มื้อ คือเช้า เย็น ปริมาณอาหารที่ให้ประมาณ 3 เปอร์เช็นต์ของน้ำหนักตัว
4. การตรวจขนาด
ควรมีการตรวจขนาดกบอย่างน้อยเดือนละครั้ง โดยวัดความยาวของลำตัวและ ชั่งน้ำหนักเพื่อตรวจดูการเจริญเติบโตของกบ และเพื่อปรับปริมาณอาหารที่ให้ หากการเจริญ เติบโตของกบไม่ดีพอ ควรพิจารณาถึงปริมาณและคุณค่าของอาหารที่ให้ว่าเหมาะสมหรือไม่
5. การตรวจสภาพบ่อ
บ่อเลี้ยงกบอาจมีการรั่วซึมหรือมีรอยรั่วควรมีการช่อมแชมแก้ไข
6. การถ่ายเทน้ำ
น้ำที่สะอาดและมีการไหลผ่านตลอดเวลาจะทำให้กบกินอาหารได้ดี เจริญเติบโต ได้รวดเร็วแต่ก็สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายเช่นกัน แต่อย่างน้อยควรมีการถ่ายเปลี่ยนน้ำวันละครั้ง
7. การคัดขนาด
คัดเลือกกบที่มีขนาดโตเท่า ๆ กัน เลี้ยงรวมไว้ด้วยกัน จะช่วยให้การเจริญเติบโต ดีขึ้น และการกัดกินกันเองลดลง


Advertising Zone    Close

Online: 1 Visits: 4,223 Today: 6 PageView/Month: 6

ด้วยความปราถนาดีจาก "สยามทูเว็บดอทคอม" และเพื่อป้องกันการเปิดเว็บไซต์เพื่อหลอกลวงขายของ โปรดตรวจสอบร้านค้าให้แน่ใจก่อนตัดสินใจซื้อของทุกครั้งนะคะ    อ่านเพิ่มเติม ...